วันนี้จึงคิดว่าน่าจะทำการรวบรวมประวัติความเป็นมา ความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์และอื่นๆที่เกี่ยวกับช้างสัตว์คู่บ้านคู่เมืองของไทยมาแต่ช้านาน เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้า และค้นหาได้โดยง่ายสำหรับมัคคุเทศก์ที่ต้องการรายละเอียดเพื่อเป็นข้อมูลในการสร้างความเข้าใจประเทศเราที่มีความผูกพันธ์ต่อ ช้าง ได้เป็นอย่างดี.
ช้างยุคแรกหรือบรรพบุรุษอยู่ที่แอฟริกาเป็นเวลากว่า 26 ล้านปีก่อนที่จะอพยพไปส่วนต่างๆของโลกแตกเป็นหลายรอ้ยสายพันธุ์ แต่บางผ่านการเวลาที่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้บ้างไม่ได้บ้าง จนเหลือแค่สองสายพันธุ์ คือ แอฟริกา และเอเชีย(ช้างไทย) ซึ่งตัวใหญ่กว่าช้างไทยมาก ช้างไทยที่มีงายาว เราเรียกว่า “ช้างพลาย” ถ้าไม่มีงาเรียก “สีดอ” ตัวเมียไม่มีงาเรียกว่า “ช้างพัง”
สายพันธุ์เอเชียแบ่งเป็น 4 สายพันธุ์ย่อย
1. ศรีลังกา หรืออินเดียใต้
2. ช้างอินเดีย ช้างไทย พม่า เวียดนาม จัดอยุ่ในหมวดนี้ด้วย
3. ช้างสุมาตรา
4. ช้างบอเนียว
ช้างไทยในสมัยโบราณมีประมาณ 100,000 เชือกซึ่งรวมทั้งช้างป้า และช้างเลี้ยง ปัจจุบันเหลือประมาณ 5,000 เชือกเป็นช้างป่า 2400 เชือกที่เหลือเป็นช้างเลี้ยง.
ความสำคัญของช้างกับประเทศไทย
สอง. ช้างเป็นสัตว์ที่ปกป้องประเทศชาติในสมัยโบราณการทำศึกสงครามช้างเป็นสัตว์ที่มีหน้าที่สำคัญในการปกป้องอธิปไตยของประเทศไทย.
สาม. ช้างใช้ในพระราชพิธีต่างๆมากมายเช่น พิธีโสกันต์ อัญเชิญพระแก้วมรกต
สี่ . เป็นฑูตสันธไมตรีกับต่างประเทศเช่นในสมัย รัชกาลที่ 5 มีการประทานให้แก่ประเทศสิงคโปร์ บัตตาเวีย (อินโดนีเซีย)
ห้า. และที่แน่นอนเป็นพาหนะในการเดินทางในสมัยโบราณ
หก. ใช้งานในป่าไม้เพื่อกิจการการค้าไม้ในสมัยโบราณ.
และเราทราบความสำคัญของช้างมาแล้วต่อมาอยากจะให้เราทุกคนที่เป็นคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมัคคุเทศก์ที่ต้องมีความรู้เพื่อเป็นการ บอกสิ่งที่เป็นของคุ่บ้านเราได้อย่างถูกต้องอีกด้วย นั้นคือการดูลักษณ์ของช้างที่ดีและคนไทยเราถฺือว่าเป็นสัตว์มงคล ตามคชลักษณ์ที่มีเขียนกันใน ตำราโบราณ.
ตำราพระคชศาสตร์กำหนดลักษณะสำคัญ ๗ ประการของช้างมงคลไว้ว่าช้างเศวตกุญชร (ช้างเผือก) จะต้องประกอบด้วย
1. ตาขาว
2. เพดานปากขาว
3. เล็บขาว
4. ขนขาว
5. พี้นผิวขาว หรือสีอ่านเหมือนออกแดงคล้ายหม้อไหม้
6. ขนหางสีขาว
7. อัณฑะโภสีขาว หรือเสีแดงอ่อน
ช้างที่มีลักษะดังกล่าวถ้ามีในครอบครองต้องมีการถวายแด่พระมหากษัตริย์ เพื่อเป็นช้างคุ่บารมีและจะมีการเรียกลักษณะนามว่าช้าง ไม่เรียก เชือกเหมือนทั่วไป และถ้าได้รับการแต่งตั้งเป็นช้างประจำรัชกาลจะมีคำนำหน้าว่า พระคุณ.
พิธีกรรมต่างๆของประเทศไทยได้รับอิทธิพลมาเขมรและอินเดียของศาสนาพรหมห์ ตำนานช้างก็เช่นกันตามความเชื่อว่า ช้างถูกสร้างโดยพระนารายณ์ตอนที่พระองค์พระทับที่หลังพระยาอันนตนาคราชและได้สร้างดอกบัว คือโลก และได้แบ่งกลีบดอกบัวเป็นสี่ กลีบและมอบให้พระพรหมห์ พระอิศวร พระวิษณุ และพระอัคนีและต่อมามหาเทพทั้ง 4 ก็เนรมิตรให้เป็นช้างใน 4ตระกูล.
1. พรหมห์พงศ์ จะเป็นช้างผิวเนื้อละเอียด สีอ่อน หน้าใหญ่ รูขนจะมีมีขน2เส้น งาสีเหลือง ที่เป็นช้างที่มีวิทยาการ และอายุยืนยาว จัดเป็นช้างในตระกูลพระพรหมห์เนรมิตร ซึ่งมี 10 กลุ่ม ที่เด่นที่สุดคือ ฉัททันต์ ในนิทานชาดกเคยกล่าวถึงพระพุทธเจ้าเคยเป็นช้างฉัททันต์
2. อิศวรพงศ์ เป็นเป็นช้างในตระกูลพระอิศวรเนรมิต ผิวกายดำสนิท มีงาอวบงอนเสมอกันทั้งสองข้าง ขาใหญ่ คอย่น ขณะเยื้องย่างอกใหญ่ หน้าเชิด แบ่งออกเป็น 8หมู่ โด่ดเด่นสุดในหมู่นี้คือ ออ้มจักรวาล เป็นช้างแห่งความสุข และเจริญด้วยทรัพย์สินอำนาจ.
3. วิษณุพงศ์ เป็นช้างเผือกในตระกูลพระวิษณุเมรมิต ผิวหนา ขนหนาเกรียน สีทองแดงอก คอใหญ่ หางยาว งวงยาว หน้าใหญ่ นัยต์ตาขุ่นหลังเรียบ แยกเป็น 6หมู่ที่เด่นที่สุดคือ สังขทันต์ มีงาอวบราวสังข์ร้องได้สองเสียง ตอนเช้าเป็นเสียงเสือ ตอนเย็นเป็นเสียงไก่ขัน กายสีทองแดง เป็นช้างแห่งชัยชนะ ธัญาหาร และฝน.
4. อัคนีพงศ์ ช้างตระกูลอัคนีเนรมิตร ท่าทางสง่างาม เดินเชิดงวงอกใหญ่ งาทั้งสองโค้งพอจรดกันสีเหลือง ปนแดง ผิวกายคล้ายใบตองตากแห้งแยกเป็น 42 หมู่ เป็นช้างสีประหลาด หรือ ขาดคชลักษณ์อื่นจะอยุ่ในวงศ์นี้ แต่ถ้าได้ขึ้นเป็นช้างสำคัญ จะมีสีปกติ ท่าทางปราดเปรียว งาสั้นอวบ ช้างในตระกูลนี้ยังแบ่งเป็นช้างเผือก และช้างเนียม.
หมายเหตุ:ภาพและข้อมูลบ้างส่วนเป็นของที่นำมาจากในเว็บไซด์เพื่อการศึกษาและวิทยาทานครับไม่ได้มีเจตนาแสดงความเป็นเจ้าของ.
ช้างยุคแรกหรือบรรพบุรุษอยู่ที่แอฟริกาเป็นเวลากว่า 26 ล้านปีก่อนที่จะอพยพไปส่วนต่างๆของโลกแตกเป็นหลายรอ้ยสายพันธุ์ แต่บางผ่านการเวลาที่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้บ้างไม่ได้บ้าง จนเหลือแค่สองสายพันธุ์ คือ แอฟริกา และเอเชีย(ช้างไทย) ซึ่งตัวใหญ่กว่าช้างไทยมาก ช้างไทยที่มีงายาว เราเรียกว่า “ช้างพลาย” ถ้าไม่มีงาเรียก “สีดอ” ตัวเมียไม่มีงาเรียกว่า “ช้างพัง”
สายพันธุ์เอเชียแบ่งเป็น 4 สายพันธุ์ย่อย
1. ศรีลังกา หรืออินเดียใต้
2. ช้างอินเดีย ช้างไทย พม่า เวียดนาม จัดอยุ่ในหมวดนี้ด้วย
3. ช้างสุมาตรา
4. ช้างบอเนียว
ช้างไทยในสมัยโบราณมีประมาณ 100,000 เชือกซึ่งรวมทั้งช้างป้า และช้างเลี้ยง ปัจจุบันเหลือประมาณ 5,000 เชือกเป็นช้างป่า 2400 เชือกที่เหลือเป็นช้างเลี้ยง.
ความสำคัญของช้างกับประเทศไทย
หนึ่ง . ช้างเป็นสัตว์คู่พระบารมีกษัตริย์ไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณโดยเฉพาะช้างเผือก (จนในสมัยรัชกาลที่สองทรงใช้รูปช้างเผือกเป็นธงประจำชาติ และได้รับการยกย่องเป็นเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า.
สอง. ช้างเป็นสัตว์ที่ปกป้องประเทศชาติในสมัยโบราณการทำศึกสงครามช้างเป็นสัตว์ที่มีหน้าที่สำคัญในการปกป้องอธิปไตยของประเทศไทย.
สาม. ช้างใช้ในพระราชพิธีต่างๆมากมายเช่น พิธีโสกันต์ อัญเชิญพระแก้วมรกต
สี่ . เป็นฑูตสันธไมตรีกับต่างประเทศเช่นในสมัย รัชกาลที่ 5 มีการประทานให้แก่ประเทศสิงคโปร์ บัตตาเวีย (อินโดนีเซีย)
ห้า. และที่แน่นอนเป็นพาหนะในการเดินทางในสมัยโบราณ
หก. ใช้งานในป่าไม้เพื่อกิจการการค้าไม้ในสมัยโบราณ.
และเราทราบความสำคัญของช้างมาแล้วต่อมาอยากจะให้เราทุกคนที่เป็นคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมัคคุเทศก์ที่ต้องมีความรู้เพื่อเป็นการ บอกสิ่งที่เป็นของคุ่บ้านเราได้อย่างถูกต้องอีกด้วย นั้นคือการดูลักษณ์ของช้างที่ดีและคนไทยเราถฺือว่าเป็นสัตว์มงคล ตามคชลักษณ์ที่มีเขียนกันใน ตำราโบราณ.
ตำราพระคชศาสตร์กำหนดลักษณะสำคัญ ๗ ประการของช้างมงคลไว้ว่าช้างเศวตกุญชร (ช้างเผือก) จะต้องประกอบด้วย
1. ตาขาว
2. เพดานปากขาว
3. เล็บขาว
4. ขนขาว
5. พี้นผิวขาว หรือสีอ่านเหมือนออกแดงคล้ายหม้อไหม้
6. ขนหางสีขาว
7. อัณฑะโภสีขาว หรือเสีแดงอ่อน
ช้างที่มีลักษะดังกล่าวถ้ามีในครอบครองต้องมีการถวายแด่พระมหากษัตริย์ เพื่อเป็นช้างคุ่บารมีและจะมีการเรียกลักษณะนามว่าช้าง ไม่เรียก เชือกเหมือนทั่วไป และถ้าได้รับการแต่งตั้งเป็นช้างประจำรัชกาลจะมีคำนำหน้าว่า พระคุณ.
พิธีกรรมต่างๆของประเทศไทยได้รับอิทธิพลมาเขมรและอินเดียของศาสนาพรหมห์ ตำนานช้างก็เช่นกันตามความเชื่อว่า ช้างถูกสร้างโดยพระนารายณ์ตอนที่พระองค์พระทับที่หลังพระยาอันนตนาคราชและได้สร้างดอกบัว คือโลก และได้แบ่งกลีบดอกบัวเป็นสี่ กลีบและมอบให้พระพรหมห์ พระอิศวร พระวิษณุ และพระอัคนีและต่อมามหาเทพทั้ง 4 ก็เนรมิตรให้เป็นช้างใน 4ตระกูล.
1. พรหมห์พงศ์ จะเป็นช้างผิวเนื้อละเอียด สีอ่อน หน้าใหญ่ รูขนจะมีมีขน2เส้น งาสีเหลือง ที่เป็นช้างที่มีวิทยาการ และอายุยืนยาว จัดเป็นช้างในตระกูลพระพรหมห์เนรมิตร ซึ่งมี 10 กลุ่ม ที่เด่นที่สุดคือ ฉัททันต์ ในนิทานชาดกเคยกล่าวถึงพระพุทธเจ้าเคยเป็นช้างฉัททันต์
2. อิศวรพงศ์ เป็นเป็นช้างในตระกูลพระอิศวรเนรมิต ผิวกายดำสนิท มีงาอวบงอนเสมอกันทั้งสองข้าง ขาใหญ่ คอย่น ขณะเยื้องย่างอกใหญ่ หน้าเชิด แบ่งออกเป็น 8หมู่ โด่ดเด่นสุดในหมู่นี้คือ ออ้มจักรวาล เป็นช้างแห่งความสุข และเจริญด้วยทรัพย์สินอำนาจ.
3. วิษณุพงศ์ เป็นช้างเผือกในตระกูลพระวิษณุเมรมิต ผิวหนา ขนหนาเกรียน สีทองแดงอก คอใหญ่ หางยาว งวงยาว หน้าใหญ่ นัยต์ตาขุ่นหลังเรียบ แยกเป็น 6หมู่ที่เด่นที่สุดคือ สังขทันต์ มีงาอวบราวสังข์ร้องได้สองเสียง ตอนเช้าเป็นเสียงเสือ ตอนเย็นเป็นเสียงไก่ขัน กายสีทองแดง เป็นช้างแห่งชัยชนะ ธัญาหาร และฝน.
4. อัคนีพงศ์ ช้างตระกูลอัคนีเนรมิตร ท่าทางสง่างาม เดินเชิดงวงอกใหญ่ งาทั้งสองโค้งพอจรดกันสีเหลือง ปนแดง ผิวกายคล้ายใบตองตากแห้งแยกเป็น 42 หมู่ เป็นช้างสีประหลาด หรือ ขาดคชลักษณ์อื่นจะอยุ่ในวงศ์นี้ แต่ถ้าได้ขึ้นเป็นช้างสำคัญ จะมีสีปกติ ท่าทางปราดเปรียว งาสั้นอวบ ช้างในตระกูลนี้ยังแบ่งเป็นช้างเผือก และช้างเนียม.
หมายเหตุ:ภาพและข้อมูลบ้างส่วนเป็นของที่นำมาจากในเว็บไซด์เพื่อการศึกษาและวิทยาทานครับไม่ได้มีเจตนาแสดงความเป็นเจ้าของ.