จนมาวัดหนึ่งได้เข้าเรียน ฟังเรื่องราวในต่างประเทศบ้างก็กลับมาคิดว่าเออแต่ละที่ก็มีเรื่องราวความเป็นมาว่ามันมาจากอะไรและมันหมายถึงอะไร เลยคิดว่าบ้านเราก็น่าจะมีเหมือนกันอย่างในประเทศยุโรปก็เป็นศิลปะที่จากเรื่องความเป็นมาจากปรกรนัมของเขา วันนี้เลยอยากเอาของในวัดมาเล่าสู่กันฟังว่ามีไรบ้างและมีที่มาอย่างไรเพื่อว่าไปวัดครั้งต่อไปอย่างจะได้สนุกกับมันก็ได้.
เริ่มจากเข้าไปในวัดแล้วส่วนมากเราจะสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบช่อฟ้า ใบระกา รวยระกา นาคสะ
ดุ้ง หรือ งวงไอยรา หางหงษ์ คันทรวย แล้วแต่แบบศิลปะในแต่ละพื้นที่อีก สิ่งเหล่านี้เป็นศิลปะสถาปัตยกรรมที่มีเรื่องเล่าความเชื่อมาจากตำนานในพระพุทธศาสนา หรือเกี่ยวกับพระพุทธองค์มาเป็นแนวคิดการก่อสร้าง หลังคาโบส์ที่ประกอบด้วยช่อฟ้าก็เป็นส่วนของหัวพญานาคที่ที่ช่อฟ้าเนื่องจากช่อก็มาจากลักษณะของที่เป็นช่อกิ่งก้านที่ชูขึ้นไปบนฟ้าเลยเรียกว่า "่ช่อฟ้า" เป็นนัยที่หมายถึงการบูชาพระรัตนตรัย และทวยเทพบนสวรรค์ และสาเหตุที่ใช้พญานาคเป็นส่วนต่างๆในศิลปะการก่อสร้างเนื่องจาก มีความเชื่อที่ว่าพญานาคเป็นสัตว์ที่ปกป้องคุ้มครองพระศาสนา และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อย่างพญามุจลินที่บกป้องจะพุทธองค์จากฝนที่ตกลงมา ตอนที่พระองค์เสวยวิมุต ดังนั้นการสร้างกรอบประตูชายคาต่างๆ จะทำเสมือนว่า พญานาคพันเกี่ยวรอบพระอุโบสถ หรือวิหาร.
ดุ้ง หรือ งวงไอยรา หางหงษ์ คันทรวย แล้วแต่แบบศิลปะในแต่ละพื้นที่อีก สิ่งเหล่านี้เป็นศิลปะสถาปัตยกรรมที่มีเรื่องเล่าความเชื่อมาจากตำนานในพระพุทธศาสนา หรือเกี่ยวกับพระพุทธองค์มาเป็นแนวคิดการก่อสร้าง หลังคาโบส์ที่ประกอบด้วยช่อฟ้าก็เป็นส่วนของหัวพญานาคที่ที่ช่อฟ้าเนื่องจากช่อก็มาจากลักษณะของที่เป็นช่อกิ่งก้านที่ชูขึ้นไปบนฟ้าเลยเรียกว่า "่ช่อฟ้า" เป็นนัยที่หมายถึงการบูชาพระรัตนตรัย และทวยเทพบนสวรรค์ และสาเหตุที่ใช้พญานาคเป็นส่วนต่างๆในศิลปะการก่อสร้างเนื่องจาก มีความเชื่อที่ว่าพญานาคเป็นสัตว์ที่ปกป้องคุ้มครองพระศาสนา และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อย่างพญามุจลินที่บกป้องจะพุทธองค์จากฝนที่ตกลงมา ตอนที่พระองค์เสวยวิมุต ดังนั้นการสร้างกรอบประตูชายคาต่างๆ จะทำเสมือนว่า พญานาคพันเกี่ยวรอบพระอุโบสถ หรือวิหาร.
ใบระกา ก็มาจากความเชื่อในเรื่องเดียวกันว่ามาจากเกร็ดของพญานาค แต่บางตำนานมีการอธิบายว่าใบระกามาจากส่วนเกร็ดใต้ท้องพญานาคและเกร็ดส่วนหน้าคือหางหงษ์ และยังมีส่วนของขนใต้ปีกของครุฑส่วนขนหน้าปีกคือ " ช่อฟ้า" แต่กล่าวโดยสรุปแล้วก็คือเกร็ดหรือขนของครุฑนั้นเอง และประเพณีโบราณถือเอาช่อฟ้าเป็นเครื่องสูงสุดของสถาปัตยกรรมไทยสำหรับการบูชาพระพุทธศาสนาอีกด้วย ดังนั้นจึงมีประเพณีการยกช่อฟ้าอันเนื่องจากโบราณถือว่าการสร้างวัด หรือศาสนสถานที่สำคัญจะต้องมีการสร้างส่วนต่างๆเสร็จก่อนที่มีการประดับช่อฟ้าอันเป็นเครื่องสูงสุด " จึงมีประเพณีการการยกช่อฟ้ามาแต่โบราณและนี่เป็นแค่ส่วนแรกของวัดเท่านั้นยังมีมากมาย.
ต่อจากพระอุโบสถหรือวิหารแล้วถ้าเราสังเกตุหรือไม่ต้องสังเกตุโดยคนไทยทั่วๆก็จะทราบดีว่าถ้าเป็นอุโบสถนั้นจะมีใบเสมา และ ลูกนิมิต เป็นการบอกให้ทราบโดยทั่วไปว่าเป็นพระอุโบสถนั้นเอง แต่เราใบเสมาอย่างที่เรารู้กันว่าเป็นแผ่นหินบอกเขตพัทธสีมา ซึ่งมีการสร้างขึ่นมาภายหลังอาจเพราะเหตุผลของการตกแต่งวัดให้มีความงดงาม ต่างจากลูกนิมิตก็เป็นการบอกเขตคามสีมาของพระสงฆ์ที่จะทำ
สังฆกรรมต่างๆ มาจากความเชื่อที่ว่าในสมัยพุทธกาลมีคนมาบวชกับพระพุทธองค์เป็นจำนวนมากและต้องมากออกไปเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระตถาคตทรงเห็นว่าพระทุกองค์ที่บวชไม่ใช่ว่าจะเป็นพระอรหันต์ดังนั้นเพื่อเป็นการระลึกถึง ในพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์จึงกำหนดให้มีการทำสังฆกรรม เพื่อปรึกษากันงานกิจต่างๆของสงฆ์โดยกำหนดเป็นเขตที่ศักดิ์สิทธิ์ของสงฆ์ในการทำสังฆกรรมโดยการอาศัยธรรมชาติ 8 ประการ คือ ภูเขาศิลา ป่าไม้ ต้นไม้ จอมปลวก หนทาง แม่น้ำ และนำ้นิ่งและเรียกเครื่องหมายเขตแดนนี้ว่า " นิมิต" และต่อมานิมิตส่วนใหญ่อยู่ตามธรรมชาติและส่วนมากมักจะคลาดเคลื่อนจึงได้มีการกำหนดใหม๋เป็นสิ่งที่สร้างมาโดยเฉพาะ เช่น บ่อน้ำ สระน้ำ และก้อนหิน โดยเฉพาะก้อนหิน ภายหลังมีการตกแต่งให้มีความสวยงามเป็นทรงกลมจนเป็นที่นิยมกันถึงในปัจจุบัน.
" ลูกนิมิต" สัญลักษณ์บอกพุทธสีมาตั้่งแต่ในสมัยโบราณมีการจัดวางหรือฝังใต้พื้นอุโบสถหรือใต้ใบเสมามักจะมีการวาง 9 ลูก คือวางเป็นทิศทั้งแปดและวางอีกหนึ่งลูกกลางอุโบสถเป็นลูกเอก การฝังลูกนิมิตหรือเรียกว่า การผูกพุทธสีมา พิธีการจะมีการให้พระสงฆ์สีองค์ตรวจและสวดสีมาโดยเริ่มจากทางตะวันออกก่อน และบรรจตนิมิตที่ตะวันออกอีกคร้้ง แล้วพระสงฆ์จะกลับเข้าอุโบสถเพื่อการสวดทักสีมาอีกครั้งและตัดสายลูกนิมิตเพื่อเป็นการฝัง พิธีแบบนี้แรกว่า " สวดทักสีมา" .
ความหมายขอแต่ละทิศเป็นการบูชาพุทธเจ้า และพระอรหันต์ต่างๆ
1。ทางตะวันออก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ คือผู้รอบรู้ราตรีกาล คือมีความรู้มาก
2. ทิศตะวันออกเฉียงใต้ คือ พระมหากัปสัปะ คือผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระทรงธุดงด์
3。ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ คือ พระราหุล เป็นผู้เลิศทางการศึกษา
4。ทิศใต้ คือพระสารีบุตร ผู้มีความเลิศในทางปัญญา
5. ทิศเหนือคือ พระโมคัลลานะ ผุ้มีความเป็นเลิศในทางฤทธิ์
6。ทิศตะวันตก คือ พระอานนท์ผู้มีความเป็นเลิศในทางพหูสูต.
7。ทิศตะวันตกเฉียงใต้ คือ พระอุบาลี มีความเข็มแข็งทางวินัย.
8。ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คือ พระควัมปติ ผู้เป็นเลิศในรูปงาม และทางลาภ.
นอกจากนี้ยังมีเจดย์ หรือ สถูป มากมายภายในวัดต่างๆ อีกด้วย เรื่องของเจดีย์มีมาตั้งแต่สมัยของพระพูทธกาล เช่นการนิพพานของอครสาวกเบื้องขาว คือ พระสาริบุตร พระพุทธเจ้ายังมีคำสั่งให้พระจุนทะ และคณะ ทำเจดีย์เพื่อบรรจุสารีริกธาตุได้ประตูเชตวัน เมืองสารวัตถี และอีกส่วนหนึ่งทีเมืองนาลันทาบ้านเกิดอีกด้วย ดังนั้นเจดีย์เป็นเครื่องหมายแห่งความเคารพในพระพุทธศาสนา เนื่องจากเป็นที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุต่างๆอีกด้วย
เจดีย์ หรือ พระสถูป อันที่จริงเราต้องเรียกว่า พระสถูป ถึงจะถูกต้องเพราะเป็นของสูงที่บรรจุพระบรมสาริกธาตุ หรือ พระธาตุต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการแบ่งออกเป็น
1. พระธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
2. บริโภคเจดีย์ เป็นสิ่ง หรือ สถานที่ที่พระพุทธเจ้าเคยใช้หรือ เสด็จ
3. ธรรมเจดีย์ เป็น เจดีย์ที่บรรจุธรรมะ หรือ พุทธพจน์นั่นเอง
4. อุทเทสิกย์เจดีย์ คือ เจดีย์ที่บรรจุพระพุทธรูป
คราวนี้เราก็มาถึงรูปปั้นเทพหรือสิงห์ สาราสัตว์ ที่อยู่ในวัดที่เราพอจะเห็นบ่อยๆ ซึ่งส่วนใหญ่ก็แตกต่างกันไปบ้างตามแต่ตำนานของแต่ละพื้นที่ไป แต่ที่เห็นเกือบทุกวัดคือ พญานาค และ ครุฑ และ มอน(ทางภาคเหนือ) แต่วันนี้ขอเล่าเรื่องนาคก่อนเพราะเราจะเห็นบ่อยและเกือบทุกวัดจะต้องมีเป็นเครืองลำยอง เช่นอย่างที่เคยเล่ามาแล้วในการสร้างอุโบสถ หรือ วิหารต่างๆ
ตำนานเรื่องนาค เกิดจากทางตอนใต้ของอินเดียที่มีงูชุกชุม และเป็นหวาดกลัวของคนในพื้นที่เนื่องจากกลัวพิษของมัน จำทำให้เกิดความเชื่อและนับถือว่าเป็นสัตว์ที่มีอำนาจและเป็นที่บูชากัน ภายหลังพระพุทธศาสนาที่เกิดขึ้นทางตอนเหนือของประเทศอินเดียได้ขยายมาทางใต้ของประเทศ จึงมีการรวมความคิดเรื่องงู ความศักดิ์ของงูจนเป็นตำนานพญานาคที่มีบทบาทเข้ามาในพระพุทธศาสนาดูได้จาก เรื่องพุทธประวัติ นิทานชาดก ทศชาติชาดก พระพุทธเจ้าเองก่อนที่เส็ดจมาเป็นพระพุทธเจ้า ก็เคยเสวยชาติ เป็นพญานาค ถึง สองพระชาติ คือ พญานาคภูริทัตนาคราช และ พญาจำปานาคราช ก่อนที่จะมาเป็นเจ้าชายสิทธถะ พญานาคในพระพุทธประวัติก็คือปรากฏ เช่น พญานาคมัจจุริน ทรงเห็นพระตถาคตวิมุต และฝนตกมาอย่างแรง พญานาคมัจจุริน ขดกายเจ็ดรอบให้พระพุทธเจ้าทรงประทับ และ แผ่พังพานปกป้องพระองค์จากน้ำฝน จนเป็นต้นกำเนิด " พระนาคปรก "
ทางศาสนาพรหมห์ก็มีความเชื่อในเรื่องของนาคเช่นกัน เป็นเรื่องเล่าทางศาสนาว่าพญานาคมีวังอย่างใต้บาดาร เป็นที่ประทับของพระนารายณ์ และยังเป็นสร้อยสังวารของพระศิวะอีกด้วย (พระยาสุกรี) และตำนานเรื่องการบวชนาคก่อนที่จะเป็น พระ ในสมัยนี้ก็มีเรื่องเล่าถึงพญานาคที่อยากเป็นพระอยากออกบวชแต่เนื่องด้วย พระพุทธจ้าทรงบัญญัญไว้สัตว์บวชพระแต่พญานาคแปลงร่างเป็นพระมาขอออกบวช และถูกจับได้แต่เห็นแก่ความดีที่อยากออกบวชจึงมีพิธีบวชนาคเพื่อเป็นการระลึกถึงนาคตนนั้น (เรื่องนาคออกบวชจะเล่าให้ฟังอีกทีตอนหลัง)
นาคส่วนใหญ่ที่อยู่ในวัดนอกจากอยู่บนหลังคา ชายคา ตัวอุโบสถ แล้ว ยังเห็นได้ตามบรรไดของวัดเพราะมีความเชื่อว่า นาค และ สายรุ้งเป็นสิ่งเดี่ยวกัน เป็นทางที่ทอดมาจากสวรรค์ มายังโลกมนุษย์ จากตอนที่พระพุทธเจ้าทรงเสด็จกลับจากดาวดึงศ์โดยเทวดาเนรมิตบรรได้แก้ว ที่มีพญานาคสองตัวหนุนเป็นบรรได้ให้พระพุทธเจ้าเสร็จ (จึงเป็นทีมาของบรรได้นาค) เรื่องราวของพญานาคยังมีอีกมากมายจะเล่าให้ฟังเรื่องของนาคโดยเฉพาะเลย ตอนนี้เอาที่มาของแนวคิดเรื่องการสร้าง ว่าทำไมต้องบรรได้นาค ไปก่อนละกันไม่งั้นส่งสัยไม่จบเรื่องศิลปะในวัดแน่เลย
ตัวมอม (ส่วนมากจะเห็นได้ทางภาคเหนือ และ วัดต่างๆในภาคกลาาง) ตามตำนานว่ากันว่าเป็นพาหนะ ของพระ ปัชชุนนเทวบุตร ในสมัยพุทธกาลในรัฐโกศล เกิดภัยแห้งพระพุทธองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณแก่สัตว์โลก จึงบันดาลให้พระอินทร์รู้ แล้วในให้ " ปัชชุนนเทวบุตร" บันดาลให้ฝนตกและ สมัยชาติหนึ่งพระอานนท์ทรงเคยเกิดเป็น พระชุนนเทวบุตร ที่อยุ่ในสวรรค์ชั้น มหาจัตุมหาราชชิกา " มอม " เ ป็นสัตว์ที่ฤทธิ์มาก ทะนงตัว ลงมายังโลกละทำบาปไว้มากเลยกลับขึ้นสวรรค์ไม่ได้เลย และถูกสั่งให้เฝ้าศาสนสถาน และฟังธรรมจนละกิเลสให้ได้ก่อนขึ้นสวรรค์ (ขอนอกเรื่องนิดหน่อยเออมันดัน คล้ายกับเรื่องที่เคยได้ฟังมาจากเมืองจีน ตำนานสัตวเทพ เช่น " ผีซิว " หรือ คนทางภาคเหนือของจีนเรียกว่า " เทียนลู่ " เรื่องราวประมาณว่าเป็นที่โปรดปรานของเง็กเซียนฮองแต้ แต่ทำผิดโดนฝ่ามือเง็กเซียนตบและตอ้งตกลงมาบนพื้นโลก ต้องทำความดีจนกว่าจะได้กลับไปสวรรค์ บังเอิญจังหน้าตาก็คล้ายกันด้วยอาจเป็นญาติกัน)
กลับเข้าเรื่องดีกว่าเดี๋ยวจะไม่จบเรื่องวัดไม่ได้กลับบ้านสักที รูปแบบการปั้นหรือการแกะสลักตัวมอมอาจแตกต่างกันบ้าง แล้วแต่ศิลปะของแต่ละพื้นที่ หรือ ความขี้เล่น
หรือ ความชอบของนักปั้นด้วยจะเห็นได้จาก ส่วนใหญ่ จะมีคล้าวคล้ายกับ " สุนัขปักกิ่ง " มีเกร็ด มีเล็บ ตาโต บ้างก็อาจจะมีหางปลา หรือ หน้าและเกร็ดคล้ายตัวเงินตัวทองก็มี.
ผมว่าแดดร่มลมตกละน่าจะได้เวลาใกล้กลับบ้านแล้ว แต่ก่อนกลับบ้านขอเล่าตัวสุดท้ายที่อาจจะทำให้สลับสนได้เวลาไปวัดทางภาคเหนือ(ไม่แน่ใจว่าภาคอื่นมีหรือป่าว) นั้นก็คือตัว " มกร " อ่านว่า มะกะระ หรือ มะกร ก็ได้ แต่ตำนานป่าหิมพานต์เรียกว่า " เหรา" เป็นลูกของพญานาค และ จรเข้ มีลักษณะเหนือจรเข้กลืนนาค อาศัยอยู่ทางขึ้นของเขาหิมพานต์ เป็นความเชื่อทางอินเดีย ศรีลังกา พม่า.
สุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณข้อมูลที่เป็นประโยชน์ที่ผมได้รวบรวมมาและเขียนเป็นแบบที่ผมชอบ และรูปทั้งหมดที่ในบล๊อคนี้เป็นภาพจากที่หาในเวปไซด์.
ต่อจากพระอุโบสถหรือวิหารแล้วถ้าเราสังเกตุหรือไม่ต้องสังเกตุโดยคนไทยทั่วๆก็จะทราบดีว่าถ้าเป็นอุโบสถนั้นจะมีใบเสมา และ ลูกนิมิต เป็นการบอกให้ทราบโดยทั่วไปว่าเป็นพระอุโบสถนั้นเอง แต่เราใบเสมาอย่างที่เรารู้กันว่าเป็นแผ่นหินบอกเขตพัทธสีมา ซึ่งมีการสร้างขึ่นมาภายหลังอาจเพราะเหตุผลของการตกแต่งวัดให้มีความงดงาม ต่างจากลูกนิมิตก็เป็นการบอกเขตคามสีมาของพระสงฆ์ที่จะทำ
สังฆกรรมต่างๆ มาจากความเชื่อที่ว่าในสมัยพุทธกาลมีคนมาบวชกับพระพุทธองค์เป็นจำนวนมากและต้องมากออกไปเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระตถาคตทรงเห็นว่าพระทุกองค์ที่บวชไม่ใช่ว่าจะเป็นพระอรหันต์ดังนั้นเพื่อเป็นการระลึกถึง ในพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์จึงกำหนดให้มีการทำสังฆกรรม เพื่อปรึกษากันงานกิจต่างๆของสงฆ์โดยกำหนดเป็นเขตที่ศักดิ์สิทธิ์ของสงฆ์ในการทำสังฆกรรมโดยการอาศัยธรรมชาติ 8 ประการ คือ ภูเขาศิลา ป่าไม้ ต้นไม้ จอมปลวก หนทาง แม่น้ำ และนำ้นิ่งและเรียกเครื่องหมายเขตแดนนี้ว่า " นิมิต" และต่อมานิมิตส่วนใหญ่อยู่ตามธรรมชาติและส่วนมากมักจะคลาดเคลื่อนจึงได้มีการกำหนดใหม๋เป็นสิ่งที่สร้างมาโดยเฉพาะ เช่น บ่อน้ำ สระน้ำ และก้อนหิน โดยเฉพาะก้อนหิน ภายหลังมีการตกแต่งให้มีความสวยงามเป็นทรงกลมจนเป็นที่นิยมกันถึงในปัจจุบัน.
" ลูกนิมิต" สัญลักษณ์บอกพุทธสีมาตั้่งแต่ในสมัยโบราณมีการจัดวางหรือฝังใต้พื้นอุโบสถหรือใต้ใบเสมามักจะมีการวาง 9 ลูก คือวางเป็นทิศทั้งแปดและวางอีกหนึ่งลูกกลางอุโบสถเป็นลูกเอก การฝังลูกนิมิตหรือเรียกว่า การผูกพุทธสีมา พิธีการจะมีการให้พระสงฆ์สีองค์ตรวจและสวดสีมาโดยเริ่มจากทางตะวันออกก่อน และบรรจตนิมิตที่ตะวันออกอีกคร้้ง แล้วพระสงฆ์จะกลับเข้าอุโบสถเพื่อการสวดทักสีมาอีกครั้งและตัดสายลูกนิมิตเพื่อเป็นการฝัง พิธีแบบนี้แรกว่า " สวดทักสีมา" .
ความหมายขอแต่ละทิศเป็นการบูชาพุทธเจ้า และพระอรหันต์ต่างๆ
1。ทางตะวันออก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ คือผู้รอบรู้ราตรีกาล คือมีความรู้มาก
2. ทิศตะวันออกเฉียงใต้ คือ พระมหากัปสัปะ คือผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระทรงธุดงด์
3。ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ คือ พระราหุล เป็นผู้เลิศทางการศึกษา
4。ทิศใต้ คือพระสารีบุตร ผู้มีความเลิศในทางปัญญา
5. ทิศเหนือคือ พระโมคัลลานะ ผุ้มีความเป็นเลิศในทางฤทธิ์
6。ทิศตะวันตก คือ พระอานนท์ผู้มีความเป็นเลิศในทางพหูสูต.
7。ทิศตะวันตกเฉียงใต้ คือ พระอุบาลี มีความเข็มแข็งทางวินัย.
8。ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คือ พระควัมปติ ผู้เป็นเลิศในรูปงาม และทางลาภ.
นอกจากนี้ยังมีเจดย์ หรือ สถูป มากมายภายในวัดต่างๆ อีกด้วย เรื่องของเจดีย์มีมาตั้งแต่สมัยของพระพูทธกาล เช่นการนิพพานของอครสาวกเบื้องขาว คือ พระสาริบุตร พระพุทธเจ้ายังมีคำสั่งให้พระจุนทะ และคณะ ทำเจดีย์เพื่อบรรจุสารีริกธาตุได้ประตูเชตวัน เมืองสารวัตถี และอีกส่วนหนึ่งทีเมืองนาลันทาบ้านเกิดอีกด้วย ดังนั้นเจดีย์เป็นเครื่องหมายแห่งความเคารพในพระพุทธศาสนา เนื่องจากเป็นที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุต่างๆอีกด้วย
เจดีย์ หรือ พระสถูป อันที่จริงเราต้องเรียกว่า พระสถูป ถึงจะถูกต้องเพราะเป็นของสูงที่บรรจุพระบรมสาริกธาตุ หรือ พระธาตุต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการแบ่งออกเป็น
1. พระธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
2. บริโภคเจดีย์ เป็นสิ่ง หรือ สถานที่ที่พระพุทธเจ้าเคยใช้หรือ เสด็จ
3. ธรรมเจดีย์ เป็น เจดีย์ที่บรรจุธรรมะ หรือ พุทธพจน์นั่นเอง
4. อุทเทสิกย์เจดีย์ คือ เจดีย์ที่บรรจุพระพุทธรูป
คราวนี้เราก็มาถึงรูปปั้นเทพหรือสิงห์ สาราสัตว์ ที่อยู่ในวัดที่เราพอจะเห็นบ่อยๆ ซึ่งส่วนใหญ่ก็แตกต่างกันไปบ้างตามแต่ตำนานของแต่ละพื้นที่ไป แต่ที่เห็นเกือบทุกวัดคือ พญานาค และ ครุฑ และ มอน(ทางภาคเหนือ) แต่วันนี้ขอเล่าเรื่องนาคก่อนเพราะเราจะเห็นบ่อยและเกือบทุกวัดจะต้องมีเป็นเครืองลำยอง เช่นอย่างที่เคยเล่ามาแล้วในการสร้างอุโบสถ หรือ วิหารต่างๆ
ตำนานเรื่องนาค เกิดจากทางตอนใต้ของอินเดียที่มีงูชุกชุม และเป็นหวาดกลัวของคนในพื้นที่เนื่องจากกลัวพิษของมัน จำทำให้เกิดความเชื่อและนับถือว่าเป็นสัตว์ที่มีอำนาจและเป็นที่บูชากัน ภายหลังพระพุทธศาสนาที่เกิดขึ้นทางตอนเหนือของประเทศอินเดียได้ขยายมาทางใต้ของประเทศ จึงมีการรวมความคิดเรื่องงู ความศักดิ์ของงูจนเป็นตำนานพญานาคที่มีบทบาทเข้ามาในพระพุทธศาสนาดูได้จาก เรื่องพุทธประวัติ นิทานชาดก ทศชาติชาดก พระพุทธเจ้าเองก่อนที่เส็ดจมาเป็นพระพุทธเจ้า ก็เคยเสวยชาติ เป็นพญานาค ถึง สองพระชาติ คือ พญานาคภูริทัตนาคราช และ พญาจำปานาคราช ก่อนที่จะมาเป็นเจ้าชายสิทธถะ พญานาคในพระพุทธประวัติก็คือปรากฏ เช่น พญานาคมัจจุริน ทรงเห็นพระตถาคตวิมุต และฝนตกมาอย่างแรง พญานาคมัจจุริน ขดกายเจ็ดรอบให้พระพุทธเจ้าทรงประทับ และ แผ่พังพานปกป้องพระองค์จากน้ำฝน จนเป็นต้นกำเนิด " พระนาคปรก "
ทางศาสนาพรหมห์ก็มีความเชื่อในเรื่องของนาคเช่นกัน เป็นเรื่องเล่าทางศาสนาว่าพญานาคมีวังอย่างใต้บาดาร เป็นที่ประทับของพระนารายณ์ และยังเป็นสร้อยสังวารของพระศิวะอีกด้วย (พระยาสุกรี) และตำนานเรื่องการบวชนาคก่อนที่จะเป็น พระ ในสมัยนี้ก็มีเรื่องเล่าถึงพญานาคที่อยากเป็นพระอยากออกบวชแต่เนื่องด้วย พระพุทธจ้าทรงบัญญัญไว้สัตว์บวชพระแต่พญานาคแปลงร่างเป็นพระมาขอออกบวช และถูกจับได้แต่เห็นแก่ความดีที่อยากออกบวชจึงมีพิธีบวชนาคเพื่อเป็นการระลึกถึงนาคตนนั้น (เรื่องนาคออกบวชจะเล่าให้ฟังอีกทีตอนหลัง)
นาคส่วนใหญ่ที่อยู่ในวัดนอกจากอยู่บนหลังคา ชายคา ตัวอุโบสถ แล้ว ยังเห็นได้ตามบรรไดของวัดเพราะมีความเชื่อว่า นาค และ สายรุ้งเป็นสิ่งเดี่ยวกัน เป็นทางที่ทอดมาจากสวรรค์ มายังโลกมนุษย์ จากตอนที่พระพุทธเจ้าทรงเสด็จกลับจากดาวดึงศ์โดยเทวดาเนรมิตบรรได้แก้ว ที่มีพญานาคสองตัวหนุนเป็นบรรได้ให้พระพุทธเจ้าเสร็จ (จึงเป็นทีมาของบรรได้นาค) เรื่องราวของพญานาคยังมีอีกมากมายจะเล่าให้ฟังเรื่องของนาคโดยเฉพาะเลย ตอนนี้เอาที่มาของแนวคิดเรื่องการสร้าง ว่าทำไมต้องบรรได้นาค ไปก่อนละกันไม่งั้นส่งสัยไม่จบเรื่องศิลปะในวัดแน่เลย
ตัวมอม (ส่วนมากจะเห็นได้ทางภาคเหนือ และ วัดต่างๆในภาคกลาาง) ตามตำนานว่ากันว่าเป็นพาหนะ ของพระ ปัชชุนนเทวบุตร ในสมัยพุทธกาลในรัฐโกศล เกิดภัยแห้งพระพุทธองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณแก่สัตว์โลก จึงบันดาลให้พระอินทร์รู้ แล้วในให้ " ปัชชุนนเทวบุตร" บันดาลให้ฝนตกและ สมัยชาติหนึ่งพระอานนท์ทรงเคยเกิดเป็น พระชุนนเทวบุตร ที่อยุ่ในสวรรค์ชั้น มหาจัตุมหาราชชิกา " มอม " เ ป็นสัตว์ที่ฤทธิ์มาก ทะนงตัว ลงมายังโลกละทำบาปไว้มากเลยกลับขึ้นสวรรค์ไม่ได้เลย และถูกสั่งให้เฝ้าศาสนสถาน และฟังธรรมจนละกิเลสให้ได้ก่อนขึ้นสวรรค์ (ขอนอกเรื่องนิดหน่อยเออมันดัน คล้ายกับเรื่องที่เคยได้ฟังมาจากเมืองจีน ตำนานสัตวเทพ เช่น " ผีซิว " หรือ คนทางภาคเหนือของจีนเรียกว่า " เทียนลู่ " เรื่องราวประมาณว่าเป็นที่โปรดปรานของเง็กเซียนฮองแต้ แต่ทำผิดโดนฝ่ามือเง็กเซียนตบและตอ้งตกลงมาบนพื้นโลก ต้องทำความดีจนกว่าจะได้กลับไปสวรรค์ บังเอิญจังหน้าตาก็คล้ายกันด้วยอาจเป็นญาติกัน)
กลับเข้าเรื่องดีกว่าเดี๋ยวจะไม่จบเรื่องวัดไม่ได้กลับบ้านสักที รูปแบบการปั้นหรือการแกะสลักตัวมอมอาจแตกต่างกันบ้าง แล้วแต่ศิลปะของแต่ละพื้นที่ หรือ ความขี้เล่น
หรือ ความชอบของนักปั้นด้วยจะเห็นได้จาก ส่วนใหญ่ จะมีคล้าวคล้ายกับ " สุนัขปักกิ่ง " มีเกร็ด มีเล็บ ตาโต บ้างก็อาจจะมีหางปลา หรือ หน้าและเกร็ดคล้ายตัวเงินตัวทองก็มี.
ผมว่าแดดร่มลมตกละน่าจะได้เวลาใกล้กลับบ้านแล้ว แต่ก่อนกลับบ้านขอเล่าตัวสุดท้ายที่อาจจะทำให้สลับสนได้เวลาไปวัดทางภาคเหนือ(ไม่แน่ใจว่าภาคอื่นมีหรือป่าว) นั้นก็คือตัว " มกร " อ่านว่า มะกะระ หรือ มะกร ก็ได้ แต่ตำนานป่าหิมพานต์เรียกว่า " เหรา" เป็นลูกของพญานาค และ จรเข้ มีลักษณะเหนือจรเข้กลืนนาค อาศัยอยู่ทางขึ้นของเขาหิมพานต์ เป็นความเชื่อทางอินเดีย ศรีลังกา พม่า.
สุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณข้อมูลที่เป็นประโยชน์ที่ผมได้รวบรวมมาและเขียนเป็นแบบที่ผมชอบ และรูปทั้งหมดที่ในบล๊อคนี้เป็นภาพจากที่หาในเวปไซด์.
No comments:
Post a Comment